วันจันทร์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2555

ใบงานที่6


 1.สายบิดคู่เกลียวชนิดUTB





 2.สายโคแอกเชียล

  
3.โครงสร้างเครือข่ายแบบบัส

4.โครงสร้างเครือข่ายแบบดาว
 
 
 
5.โครงสร้างเครือข่ายแบบวงแหวน


6.โครงสร้างเครือข่ายแบบแมช
 
 
 
7.หน่วยแสดงความจำหลัก


 
8. หน่วยแสดงผล

วันจันทร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2555

ถาม-ตอบ

ถาม-ตอบ

เรื่องการค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต


1.) เครื่องจักรค้นหา คืออะไร

 ตอบ คือเว็บไซต์ที่ให้บริการในด้านการค้นหาข้อมูลต่างๆบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตให้แก่ผู้ใช้บริการ

2.)การค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตสามารถแบ่งได้กี่ประเภทอะไรบ้าง

ตอบ 3ประเภท คือ 
1.การค้นหาข้อด้วยคำที่เจาะจง
2.การค้นหามูลตามหมวดหมู่
3.การค้นหามูลจากหลายแหล่งข้อมูล

3.)การค้นหาข้อมูลวิธี Search Directories มีข้อดีอย่างไร

ตอบ ทำให้ผู้ใช้สะดวกในการเลือกข้อมูลที่ต้องการค้นหา และทำได้ข้อมูลตรงกับความต้องการ

4.)การค้นหาโดยใช้ Search Engines มีกี่ประเภทอะไรบ้าง

ตอบ2ประเภท คือ
1.การระบุคำเพื่อใช้ในการค้นหา
2.การค้นหาข้อมูลจากหมวกหมู่

5.)เทคนิคในการค้นหาข้อมูลมีกี่ประเภทอะไรบ้าง

ตอบ 4ประเภท คือ
1.การใช้ภาษา
2.ควรบีบประเด็นให้แคบลง
3.การใช้คำที่มีความหมายเหมือนกัน
4.การใช้โอเปอเรเตอร์ หรือบูลีน

วันจันทร์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2555

เทคนิคการสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต

เทคนิคการสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต
  • 1. เทคนิค การค้นหาข้อมูล ใน ... อินเตอร์เนต รายวิชา ASI 403 ภาษาและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ภาคการศึกษาที่ ๑ / ๒๕๕๒ สถาบันอาศรมศิลป์
  • 2. การค้นหาข้อมูลในเวปไซต์ ปัญหาในการสืบค้น การวางแผนและกลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล รูปแบบการสืบค้นข้อมูลในอินเตอร์เนต เวปไซต์ค้นหาข้อมูล (Search Engine) ที่ได้รับความนิยม วิธีการค้นหาข้อมูลในอินเตอร์เนต เทคนิควิธีการในการใส่คำสืบค้น การบันทึกเวปเพจ (Web Page) ที่สนใจเป็นไฟล์
  • 3. ระบบการค้นหาข้อมูลที่เรียกว่า เซิร์สเอ็นจิน (Search Engine) เป็นหัวใจสำคัญของการค้นหาข้อมูล ที่จะทำให้การค้นหาข้อมูลซึ่งมีจำนวนมากบนอินเทอร์เน็ตนั้นเกิดประโยชน์ในการเข้าถึงได้อย่างแท้จริง ระบบค้นหาที่นิยมใช้กันอยู่ในขณะนี้ เช่น www.google.com www.google.co.th www . yahoo . com www . altavista . com ฯลฯ ระบบค้นหายังมีอีกมาก แม้แต่เว็บเพ็จขององค์กรต่าง ๆ ก็มักจะมีระบบค้นหา เพื่อให้ผู้ต้องการข้อมูลภายในองค์กรจะได้เข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็ว
  • 4. ไม่ทราบความต้องการที่แท้จริง และไม่ทราบว่าควรจะค้นหาข้อมูลจากแหล่งใด ข้อมูลมีเยอะแยะมากมาย หลายสิบหน้า หรือเป็นพันๆ แล้วจะเลือกอย่างไรให้ตรงประเด็นที่เราต้องการมากที่สุด จะทำอย่างไร และควรใช้คำสืบค้นอย่างไร ? ที่จะได้ข้อมูลตรงประเด็นที่เราต้องการมากที่สุด ?
  • 5. ๑ . รู้เป้าหมายในการค้นหา เช่น ต้องการข้อมูลสารสนเทศเชิงวิชาการ เพื่อเป็นข้อมูลการเขียนบทความ ทำรายงาน ทำการวิจัยเพื่อการศึกษาเป็นต้น ๒ . ต้องรู้ว่าต้องการค้นเรื่องอะไร ๓ . รู้แหล่งข้อมูลและฐานข้อมูลที่ต้องการสืบค้น ( URL :http://www. arsomsilp . ac.th ) ๔ . การรู้จักเลือกเครื่องมือช่วยค้นที่เหมาะสมกับหัวข้อที่ต้องการ ๕ . กำหนดคำที่จะใช้ค้น ( Query ) เช่นคำสำคัญหรือหัวเรื่อง ๖ . การพัฒนาทักษะการสืบค้นข้อมูล ๗ . วิเคราะห์และประเมินผลลัพธ์ที่ได้ วิธีแก้ปัญหาในการสืบค้นข้อมูล
  • 6. เลือก Search Engine ที่ใช้ประจำไว้ใน “ Bookmarks” or “Favorite Places” ถ้าหัวเรื่องกว้างให้ใช้ Subject Search เช่น Yahoo, LookSmart or Encyclopedia Britannica ถ้าเป็นเรื่องเฉพาะหรือหัวข้อแคบให้ใช้ Keyword ค้นใน Infoseek, excite และ Savvy ค้นจากหลายๆฐานข้อมูลหรือค้นจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่ เช่น AltaVista, HotBot or NorthernLight ทำความเข้าใจกับเครื่องมือวิธีการสืบค้น ภาษา และ เทคนิคที่ใช้เพื่อไม่ให้คำค้นกว้างเกินไป
  • 7. การค้นหาในรูปแบบ Index Directory การค้นหาในรูปแบบ Search Engine
  • 8. การค้นหาในรูปแบบ Index Directory ข้อมูลจะมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย จากการที่เจ้าของเวปไซต์คัดแยกข้อมูลออกมาเป็นหมวดหมู่ และจัดแบ่งแยก Site ต่างๆออก เป็นประเภท สำหรับวิธีใช้งาน คุณสามารถที่จะ Click เลือกข้อมูลที่ต้องการจะ ดูได้เลยใน Web Browser จากนั้นที่หน้าจอก็จะแสดงรายละเอียดของหัวข้อปลีกย่อยลึกลงมาอีกระดับหนึ่ง ปรากฏขึ้นมาให้เราเลือกอีก ส่วนจะแสดงออกมาให้เลือกเยอะแค่ไหนอันนี้ก็ขึ้นอยู่กับขนาดของ
  • 9. การค้นหาในรูปแบบ Search Engine ผู้ใช้ส่วนใหญ่กว่า ๗๐ % จะใช้วิธีการค้นหาแบบนี้ หลักการทำงานของ Search Engine คุณจะต้องพิมพ์คำสำคัญ ( Keyword) ซึ่งเป็นการอธิบายถึงข้อมูลที่คุณต้องการจะเข้าไป ค้นหานั้นๆเข้าไป จากนั้น Search Engine ก็จะแสดงข้อมูลและ Site ต่างๆที่เกี่ยวข้องออกมา ( ระบบฐานข้อมูลของมันจะได้รับการจัดสร้างโดยใช้ Software ที่มีหน้าที่ควบคุมและจัดการ มีชื่อเรียกว่า Spiders ซึ่งการทำงานของมันจะใช้วิธีการเดินลัดเลาะไปตามเครือข่ายต่างๆที่เชื่อมโยงถึงกันอยู่เต็มไปหมดใน Internet เพื่อค้นหา Website ที่เกิดขึ้นมาใหม่ๆ รวมทั้งยังสามารถตรวจสอบหาความเปลี่ยนแปลงของ ข้อมูลใน Site เดิมที่มีอยู่ ว่าที่ใดถูกอัพเดตแล้วบ้าง จากนั้นมันก็จะนำเอาข้อมูลทั้งหมดที่สำรวจเข้ามา ได้เก็บใส่เข้าไปในฐานข้อมูลของตนอัตโนมัติ ยกตัวอย่างของผู้ให้บริการประเภทนี้เช่น Excite , Lycos Infoserch เป็นต้น การค้นหาด้วยวิธี Search Engine นั้นมักจะได้ผลลัพธ์ออกมากว้างๆชี้เฉพาะเจาะจงได้ยาก
  • 10. Google http://www.google.com/ Yahoo http://www.yahoo.com/ AltaVista http://www.altavista.com/ Excite http://www.excite.com/ HotBot http://www.hotbot.com/ Infoseek http://www.infoseek.com/ Lycos http://www.lycos.com/
  • 11. Siamguru http://www.siamguru.com ThaiFind http://www.thaifind.com Sanook http://www.sanook.com Tuk - Tuk http://www.tuk-tuk.com/index-b.asp Thailand2000 http://www.thailand 2000 .com
  • 12. การค้นหาข้อมูล ในเวิลด์ไวด์เว็บ ทำได้โดย การพิมพ์คำ วลี หรือคำถาม ลงไปในช่องว่าง แล้วคลิกที่ search ตัวอย่างเช่น เราต้องการทราบสภาพอากาศในกรุงเทพฯ ให้พิมพ์คำว่า Bangkok weather หรือ what is the weather in Bangkok? ลงไป เมื่อคลิ๊กที่ search โปรแกรมจะค้นหาข้อมูล ที่เกี่ยวกับสภาพอากาศในกรุงเทพฯให้ทันที
  • 13. ๑ ๒ การใช้ เครื่องหมาย คำพูด “ ...................” ถ้าเราต้องการค้นหาคำหรือวลีที่เฉพาะเจาะจง และแน่ใจ ว่าคำหรือวลี นั้น เช่น " you are my sun shine " ทำให้เราได้ผลลัพธ์ตามที่เราต้องการมากกว่า การใช้ ตัวอักษรตัวเล็กและตัวใหญ่ การค้นหาข้อมูลใน อินเตอร์เนต ให้ใช้ตัวอักษรตัวเล็กเท่านั้น เช่น ถ้าพิมพ์ว่า " Banana " ก็จะได้ผลลัพธ์จากเวปไซต์เฉพาะที่สะกดว่า Banana เท่านั้น แต่ถ้าใช้ banana เราจะได้ผลลัพธ์ จากทุกเวปเพจ
  • 14. ๓ ๔ การใช้เครื่องหมายบวก และ ลบ กรณีที่ต้องการให้ผลลัพธ์ทั้งหมด มีคำที่เราต้องการค้นหาอยู่ด้วย ให้ใส่ (+) ไปข้างหน้า เช่น ต้องการให้มีคำว่า phuket อยู่ในผลลัพธ์ ให้พิมพ์ beach diving sea + phuket แต่ถ้าต้องการให้ผลลัพธ์ไม่มีคำ ที่ต้องการอยู่ ก็ให้ใส่ ( - ) ด้านหน้าคำนั้น การใช้ Wildcards เราใช้ เครื่องหมาย (*) เป็นตัวร่วม สำหรับค้นหาเวปเพจ เพื่อให้ครอบคลุม ถึงคำที่เราต้องการในหลายๆรูปแบบ เช่น com* เป็นการบอกให้หาคำที่มีคำว่า com ขึ้นหน้าเป็นหลักส่วนด้านท้ายเป็นอะไรไม่สนใจ แต่หากนำมาไว้ด้านหน้า เช่น * tor จะเป็นการให้หาคำที่ลงท้ายด้วย tor เป็นหลัก
  • 15. ๕ การใช้ ตัวเชื่อมทาง Logic มีอยู่ ๓ ตัวด้วยกันคือ AND เป็นการสั่งให้หาโดยจะต้องมีคำนั้นๆมาแสดงด้วยเท่านั้น ! โดยไม่จำเป็นว่าจะต้องติดกัน เช่น food AND fruit เป็นต้น OR เป็นการสั่งให้หาข้อมูล โดยจะต้องนำคำใดคำหนึ่งที่พิมพ์ลงไปแสดงออกมา NOT เป็นการสั่งไม่ให้เลือกคำนั้นๆมาแสดง เช่น food and cheese not butter หมายความว่า ให้ทำการหาเวปที่เกี่ยวข้องกับ food และ cheese แต่ต้องไม่มี butter เป็นต้น
  • 16. ๖ การระบุเงื่อนไขประเภทเอกสาร นำมาใช้ในกรณีที่ต้องการเอกสารฉบับจริง หรือเอกสารฟอร์แมตต่างๆ ที่เผยแพร่ผ่านเวปไซต์ เช่น ต้องการข้อมูลเกี่ยวกับ e-Learning ที่อยู่ในฟอร์แมต Microsoft PowerPoint วิธีการ คือระบุคำเฉพาะเพิ่มเติมในการสืบค้น คือ filetype:ppt เช่น e-Learning filetype:ppt หรือต้องการให้การสืบค้นมีความเฉพาะเพิ่มขึ้น เช่น e-learning site:nectec.or.th filetype:ppt นอกจากยังสามารถระบุฟอร์แมตเอกสารอื่นได้ เช่น doc สำหรับ Microsoft Word xls สำหรับ Microsoft Excel และ pdf สำหรับเอกสารในฟอร์แมต pdf
  • 17. ๗ การค้นหาคำในหน้าเวปเพจด้วย Web Browser ใช้ในกรณี ค้นหาข้อความที่ตรงกับความต้องการภายในเวปเพจที่ได้เลือกไว้ ( สะดวกต่อการนั่งไล่ดูทีละบรรทัด จากข้อความที่มีอยู่เต็มหน้าจอไปหมด ) วิธีการ นำ mouse ไป click ที่ menu Edit แล้วเลือกบรรทัดคำสั่ง Find in Page หรือกดปุ่ม Ctrl + F ที่ keyboard ก็ได้ จากนั้นใส่คำที่ต้องการค้นหาลงไปแล้วก็กดปุ่ม Find Next โปรแกรมก็จะวิ่งหาคำดังกล่าว หากพบมันก็จะกระโดดไปแสดงคำนั้นๆ ซึ่งคุณสามารถกดปุ่ม Find Next เพื่อค้นหาต่อได้ อีกจนกว่าคุณจะพบข้อมูลที่ต้องการ
  • 18. พิมพ์คำสั่ง URL ไปที่ Webs ite ที่ต้องการ คลิกเมนู File คลิกคำสั่ง Save As เลือก folder ที่จะใช้เก็บแฟ้ม คลิกคำสั่ง Save เครื่องจะเก็บเป็นไฟล์ชนิด HTML ถ้าต้องการเก็บเป็น Text File ให้เปลี่ยนชนิดเป็น .TXT